ทฤษฏี Mesh current

     เมชเคอร์เรนต์ (Mesh Current) หรือ ลูปเคอร์เรนต์ (Loop Current) เป็นขบวนการหรือวิธีการอีกรูปแบบหนึ่ง ค้นคิดขึ้นมาโดยนักฟิสิกส์ ชาวอังกฤษ ชื่อ เจมส์ คลาค แมกซิเวลล์ ที่พัฒนาขึ้นมากจากกฎของเคอร์ชอฟฟ์ โดยการสมมุติให้มีกระแสไหลวนอยู่ในวงจรปิด มีกระแสไฟฟ้าที่ไหลแยกเป็นอิสระต่อกัน และจะกำหนดทิศทางกระแสให้ไหลในลักษณะใดก็ได้ ตัวอย่างการกำหนดทิศทางกระแสเมช ดังรูป


รูปที่  1  ตัวอย่างการกำหนดทิศทางกระแสเมช


ลำดับขั้นตอนในการนำเมชเคอร์เรนต์มาแก้ปัญหาของวงจรไฟฟ้า

                การนำวิธีเมชเคอร์เรนต์ หรือ ลูปเคอร์เรนต์ ((Loop Current) มาแก้ปัญหาในวงจรไฟฟ้ามีลำดับขั้นตอน ดังต่อไปนี้

                1.  ให้กำหนดทิศทางการไหลของกระแสโดยให้ไหลครบวงรอบหรือครบลูปโดยทิศทางกระแสให้กำหนดเองตามความเหมาะสม

                2.  ตั้งสมการโดยใช้กฎแรงเคลื่อนของเคอร์ชอฟฟ์ให้คำนึงถึงทิศทางของกระแสที่ไหลเป็นหลักกระแสที่ไหลเข้าภาระให้เป็นบวกไหลออกให้เป็นลบ

                3.  แก้สมการโดยใช้เมตริกซ์และดีเทอร์มิแนนต์



การนำวิธีเมชเคอร์เรนต์ไปใช้ในการวิเคราะห์วงจรไฟฟ้า


ตัวอย่างที่  1  จากวงจรต่อไปนี้ จงคำนวณหากระไฟฟ้าที่ไหลผ่านภาระทางไฟฟ้าแต่ละตัว





รูปที่  2  ตัวอย่างวงจรไฟฟ้า 1

วิธีทำ



รูปที่  3  การกำหนดทิศทางของกระแสเมช


 1.  กำหนดทิศทางกระแสให้ไหลครบวงรอบหรือครบลูป

 2.  ตั้งสมการโดยใช้กฎแรงเคลื่อนของเคอร์ชอฟฟ์



                        Loopที่1 และ Loop ที่2 แทนค่า




3.  แก้สมการโดยใช้เมทริกซ์และดีเทอร์มิแนนต์



นำสมการมาเขียนในรูปเมทริกซ์




    กระแสที่ไหลผ่าน R1 มีค่าเท่ากับ 0.28 แอมแปร์ กระแสที่ไหลผ่าน R2 มีค่าเท่ากับ -0.081 แอมแปร์ และกระแสที่ไหลผ่าน R3 มีค่าเท่ากับ 0.199 แอมแปร์ ซึ่งกระแส I2 ที่ติดลบก็เป็นเพราะว่าทิศทางที่สมมุติขึ้นสวนทางกับความเป็นจริง

ตัวอย่างที่  2  จากวงจรต่อไปนี้ จงคำนวณหาค่าแรงเคลื่อนตกคร่อมภาระแต่ละตัว



รูปที่ 4  ตัวอย่างวงจรไฟฟ้า 2


วิธีทำ


1.  กำหนดทิศทางกระแสให้ไหลครบวงรอบหรือครบลูป

2.  ตั้งสมการโดยให้กฎแรงเคลื่อนของเคอร์ชอฟฟ์


                            Loopที่ 1  ได้
                            แทนค่า 






                           Loopที่ 2  ได้

                           แทนค่า


                           Loopที่ 3  ได้
                           แทนค่า




 3.  แก้สมการโดยใช้เมทริกซ์และดีเทอร์มิแนนต์




แรงเคลื่อนตกคร่อมภาระแต่ละตัว



แรงเคลื่อนที่ตกคร่อม R1,R2,R3 และ R4 มีค่าเท่ากับ 0.2 โวลต์,  2.5 โวลต์, 0.5 โวลต์   และ3.5 โวลต์ ตามลำดับ ส่วนค่ากระแส I1 ที่ติดค่าลบเกิดจากการกำหนดทิศทางกระแสที่ส่วนทางกับความเป็นจริง 






















ความคิดเห็น